“กรมราง” สแกนงาน “รถไฟฟ้าสายสีม่วงใต้” คืบหน้าแล้ว 6.5%

นายอธิภู จิตรานุเคราะห์ รองอธิบดีกรมการขนส่งทางราง (ขร.) เปิดเผยว่า ได้ลงพื้นที่ติดตามงานก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) หรือสายสีม่วงใต้ เพื่อติดตามความก้าวหน้างานก่อสร้าง การบริหารจัดการจราจรบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจากการก่อสร้าง โดยการลงพื้นที่ครั้งนี้ ขร. ได้รับฟังการบรรยายสรุปการดำเนินการก่อสร้างโครงการ ซึ่งรถไฟฟ้าสายม่วงใต้นี้ มีระยะทาง 23.63 กิโลเมตร (กม.) จำนวน 17 สถานี แบ่งเป็น

1.โครงสร้างทางวิ่งใต้ดิน ระยะทาง 14.29 กมคำพูดจาก สล็อตฝ. สถานีใต้ดิน 10 สถานี ได้แก่ สถานีรัฐสภา สถานีศรีย่าน สถานีวชิรพยาบาล สถานีหอสมุดแห่งชาติ สถานีบางขุนพรหม สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สถานีสามยอด สถานีสะพานพุทธ สถานีวงเวียนใหญ่ สถานีสำเหร่ และ 2.โครงสร้างทางวิ่งยกระดับ ระยะทาง 9.34 กม. สถานียกระดับ 7 สถานี ได้แก่ สถานีดาวคะนอง สถานีบางปะแก้ว สถานีบางปะกอก สถานีประชาอุทิศ สถานีราษฎร์บูรณะ สถานีพระประแดง และ สถานีครุใน

ทั้งนี้ รถไฟฟ้าสายสีม่วงใต้ สามารถเชื่อมต่อการเดินไปยังรถไฟฟ้าสายอื่น ๆ ประกอบด้วย 1.สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เชื่อมต่อสถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยของรถไฟฟ้าสายสีส้ม (ช่วงศูนย์วัฒนธรรม-บางขุนนนท์) 2.สถานีสามยอด เชื่อมต่อสถานีสามยอดของสายสีน้ำเงิน (ช่วงหัวลำโพง-บางแค (หลักสอง)) และ 3.สถานีวงเวียนใหญ่ เชื่อมกับสถานีวงเวียนใหญ่ของสายสีเขียว (ช่วงสนามกีฬาแห่งชาติ-บางหว้า) และสถานีวงเวียนใหญ่ของรถไฟทางไกลสายแม่กลอง รวมทั้งมีอาคารจอดแล้วจร (Park & Ride) 2 แห่ง ที่สถานีบางปะกอกและสถานีราษฎร์บูรณะ สามารถรองรับได้ประมาณ 1,700 คัน

โดยสัญญางานโยธา แบ่งออกเป็น 6 สัญญา ได้แก่ สัญญาที่ 1 ช่วงเตาปูน-หอสมุดแห่งชาติ สัญญาที่ 2 ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-ผ่านฟ้า สัญญาที่ 3 ผ่านฟ้า-สะพานพุทธ สัญญาที่ 4 สะพานพุทธ-ดาวคะนอง สัญญาที่ 5 ดาวคะนอง-ครุใน และสัญญาที่ 6 งานระบบราง ปัจจุบันมีความคืบหน้างานโยธาในภาพรวม ณ เดือน ก.พคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง. 66 คิดเป็น 6.50% ในโอกาสนี้ คณะ ขร. ยังได้ลงสำรวจความคืบหน้าสถานีใต้ดิน ได้แก่ สถานีรัฐสภา สถานีวชิรพยาบาล สถานีหอสมุดแห่งชาติ สถานีสะพานพุทธ สถานีวงเวียนใหญ่ และสถานียกระดับที่สถานีครุใน

จากการสำรวจในครั้งนี้ พบปัญหา และอุปสรรคในการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ส่วนใหญ่เป็นเรื่องการบริหารจัดการจราจรบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งทาง รฟม. ได้ประสานกับกรุงเทพมหานคร และกองบัญชาการตำรวจนครบาล เพื่ออำนวยความสะดวกในการสัญจรผ่านพื้นที่ก่อสร้าง รวมทั้งกำชับให้ผู้รับสัมปทานปฏิบัติตามมาตรฐานสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดจากการก่อสร้าง และอาจส่งผลกระทบต่อประชาชนผู้สัญจรบนท้องถนน โดยโครงการรถไฟสายสีม่วงใต้ คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 70.

นายอธิภู จิตรานุเคราะห์ รองอธิบดีกรมการขนส่งทางราง (ขร.) เปิดเผยว่า ได้ลงพื้นที่ติดตามงานก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) หรือสายสีม่วงใต้ เพื่อติดตามความก้าวหน้างานก่อสร้าง การบริหารจัดการจราจรบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมาตรการป้องกันอุบัติเหตุจากการก่อสร้าง โดยการลงพื้นที่ครั้งนี้ ขร. ได้รับฟังการบรรยายสรุปการดำเนินการก่อสร้างโครงการ ซึ่งรถไฟฟ้าสายม่วงใต้นี้ มีระยะทาง 23.63 กิโลเมตร (กม.) จำนวน 17 สถานี แบ่งเป็น 1.โครงสร้างทางวิ่งใต้ดิน ระยะทาง 14.29 กมคำพูดจาก สล็อตฝ. สถานีใต้ดิน 10 สถานี ได้แก่ สถานีรัฐสภา สถานีศรีย่าน สถานีวชิรพยาบาล สถานีหอสมุดแห่งชาติ สถานีบางขุนพรหม สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สถานีสามยอด สถานีสะพานพุทธ สถานีวงเวียนใหญ่ สถานีสำเหร่ และ 2.โครงสร้างทางวิ่งยกระดับ ระยะทาง 9.34 กม. สถานียกระดับ 7 สถานี ได้แก่ สถานีดาวคะนอง สถานีบางปะแก้ว…